รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา อัครจันทโชติ
ตำแหน่ง : คณบดี
ประวัติการศึกษา
นศ.ด. (นิเทศศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2558
นศ.ม. (วาทวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2544
นศ.บ. (วาทวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2539
ประวัติการทำงาน
2563-ปัจจุบัน คณบดี
2562-2563 หัวหน้าภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง
2555-2559 รองคณบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา
2554-2555 กรรมการบริหารคณะนิเทศศาสตร์ ประเภทผู้แทนคณาจารย์ประจำ
2551-2553 เลขานุการคณะกรรมการบริหารคณะนิเทศศาสตร์
2549 - ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์
ผลงาน
หนังสือและตำรา
ปรีดา อัครจันทโชติ. (2561). การสื่อสารกับแนวคิดการข้ามพ้นวัฒนธรรม: Communication and Transculturalism. กรุงเทพมหานคร: โครงการตำราคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรีดา อัครจันทโชติ และ ทรงพร ศรีช่วย. (2554). คุณนิลวรรณ ปิ่นทอง: อัญมณีแห่งโลกนิตยสาร. กรุงเทพฯ: โครงการวิจัยนักสื่อสารมวลชนสตรีผู้บุกเบิก สถาบันไทยศึกษาและโครงการสื่อสันติภาพ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรีดา อัครจันทโชติ. (2549). ความงามหลังม่านไม้ไผ่ : สื่อจินตคดีกับสุนทรียทัศน์จีน. กรุงเทพฯ : คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บทความวิชาการและวิจัย
Nakong, Nuttawuthi and Akarachantachote, Preeda. (2021). Supervillains: A Reflection of Terrorists. Journal of Communication Arts. 39,3 (September-December 2021)
สรรัตน์ จิรบวรวิสุทธิ์ และ ปรีดา อัครจันทโชติ. (2563). การประกอบสร้างและการสื่อความหมายของความทรงจำร่วมในบะครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ของไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์. 19, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563): 8-29
รัตติยา กาญจนาภิญโญกุล และ ปรีดา อัครจันทโชติ. (2563). กลศิลป์ในการเล่าเรื่องของนิยายออนไลน์ในสังคมไทย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์. 19, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563): 45-58
สุทธิอาภา คุ้มครอง และ ปรีดา อัครจันทโชติ. (2561). การสร้างสรรค์หนังสือภาพสำหรับเด็กเพื่อสื่อสารประเด็นความหลากหลายทางเพศ. วารสารนิเทศศาสตร์. 36, 3 (กันยายน-ธันวาคม 2561) : 27-36
ปรีดา อัครจันทโชติ. (2561) “ความเป็นจีนในละครโทรทัศน์ไทย.” วารสารนิเทศศาสตร์. 36, 1 (มกราคม-เมษายน 2561) : 1-20
นฤชิต เฮงวัฒนอาภา และ ปรีดา อัครจันทโชติ. (2560). การใช้เสียงเพื่อสร้างความรู้สึกกลัวใน “หนังผี” ไทย. วารสารนิเทศศาสตร์. 35,1 (มกราคม-เมษายน 2560) : 49-62
ปรีดา อัครจันทโชติ. (2554). “การข้ามพ้นวัฒนธรรม : พรมแดนใหม่แห่งแนวคิดว่าด้วยการสื่อสารกับวัฒนธรรม.” วารสารนิเทศศาสตร์. 29,4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2554) : 150-170
ปรีดา อัครจันทโชติ. (2552). “การนำเสนอภาพหมู่บ้านในภาพยนตร์ของผู้กำกับรุ่นที่ห้าแห่งประเทศจีน.” วารสารนิเทศศาสตร์. 29,1 (มกราคม-มีนาคม 2554) : 1-21
งานสร้างสรรค์
ปรีดา อัครจันทโชติ. (2563). บำรุงสุข ผู้ก่อกำเนิดนิเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิศาสตราจารย์บำรุงสุขสีหอำไพ.
ปรีดา อัครจันทโชติ. (2560). เขียนบทแอนิเมชั่นเรื่อง “ดินแดนแสนสนุก” ในรายการ สนามสนุก ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ข่อง True4U
ปรีดา อัครจันทโชติ. (2553-2558). บรรณาธิกรบทแอนิเมชั่นเรื่อง ชุมชนนิมนต์ยิ้ม. ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 3
ปรีดา อัครจันทโชติ. (2552). “นิทานในเมืองปรีดา” ใน โอกาส. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.
ปรีดา อัครจันทโชติ. (2550). เมืองคนเด็ก. กรุงเทพฯ: แพรวเยาวชน.
ปรีดา อัครจันทโชติ. (2549). ขบวนการนิทานและสหาย. กรุงเทพฯ: แพรวเยาวชน.
ปรีดา อัครจันทโชติ. (2549). เขียนบทและบรรณาธิกรบทแอนิเมชั่นเรื่อง โฟร์แองจี้ สี่สาวแสนซน. ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 3
เฉินจื้อหยวน. (2548). กูจี กูจี. แปลโดย ปรีดา อัครจันทโชติ. กรุงเทพฯ: แพรวเพื่อนเด็ก.
ปรีดา อัครจันทโชติ. (2547). เจ้าชายไม่พูด. กรุงเทพฯ: แพรวเยาวชน.
ปรีดา อัครจันทโชติ. (2546). เจ้าชายไม่วิเศษ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.
เหลาเส่อ. (2544). บทละครเรื่อง ร้านน้ำชา. แปลโดย ปรีดา อัครจันทโชติ. กรุงเทพฯ : โครงการสุนทรียนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
งานอื่นๆ
ปรีดา อัครจันทโชติ (2551). “เรียนรู้ที่จะรักษ์โลกแบบ ติสตู นักปลูกต้นไม้” ใน สารคดี. ปีที่ 24 ฉบับที่ 277 มีนาคม 2551
ปรีดา อัครจันทโชติ (2551). “บทเรียนและความหวังของมนุษยชาติใน เก็น เจ้าหนูสู้ชีวิต” ใน สารคดี. ปีที่ 24 ฉบับที่ 275 มกราคม 2551
ปรีดา อัครจันทโชติ (2550). “เทพเจ้าแห่งสิ่งเล็กๆ กับพรุ่งนี้ซึ่งไม่มีวันมาถึง” ใน สารคดี. ปีที่ 23 ฉบับที่ 272 ตุลาคม 2550
ปรีดา อัครจันทโชติ (2550). “นกสีฟ้า กับการแสวงหาในโลกแห่งสัญลักษณ์” ใน สารคดี. ปีที่ 23 ฉบับที่ 268 มิถุนายน 2550
ปรีดา อัครจันทโชติ (2550). “หากค่ำคืนหนึ่งในฤดูหนาว นักเดินทางคนหนึ่ง : อภินิยายที่ “คุณ” กลายเป็นตัวละคร” ใน สารคดี. ปีที่ 23 ฉบับที่ 266 เมษายน 2550
ปรีดา อัครจันทโชติ (2550). “บันทึกนกไขลาน : บันทึกการตามหาจิตวิญญาณของคนแปลกแยก” ใน สารคดี. ปีที่ 23 ฉบับที่ 263 มกราคม 2550
ปรีดา อัครจันทโชติ (2550). “นาครเขษม : สุสานหรือสวนสวรรค์ของคนวัยสี่สิบ” ใน สารคดี. ปีที่ 22 ฉบับที่ 261 พฤศจิกายน 2549
ปรีดา อัครจันทโชติ (2549). “ฟรีดริช ดืรเรนมัตต์ กับบทละครแนวโกรเทสก์” ใน สารคดี. ปีที่ 22 ฉบับที่ 259 กันยายน 2549
ปรีดา อัครจันทโชติ (2549). “แอซ่า ดือ เคยรอช กับมรดกปิศาจใน มรดกขุนนาง” ใน สารคดี. ปีที่ 22 ฉบับที่ 255 พฤษภาคม 2549
ปรีดา อัครจันทโชติ (2549). “กำแพงแห่งวัฒนธรรมและเพศใน หวนหัวเราะ” ใน สารคดี. ปีที่ 21 ฉบับที่ 253 มีนาคม 2549
ปรีดา อัครจันทโชติ (2549). “ความตายของวิษณุ หลับเพื่อรอวันตื่น” ใน สารคดี. ปีที่ 21 ฉบับที่ 251 มกราคม 2549
ปรีดา อัครจันทโชติ (2548). “วีโทลด์ กอมโบรวีช กับ เฟอร์ดีเดอร์ก : ความไร้วุฒิภาวะของมนุษย์” ใน สารคดี. ปีที่ 21 ฉบับที่ 249 พฤศจิกายน 2548
ปรีดา อัครจันทโชติ (2548). “เทพนิยายของนักเล่านิทาน : ฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เสน” ใน สารคดี. ปีที่ 21 ฉบับที่ 247 กันยายน 2548
ปรีดา อัครจันทโชติ (2548). “มิฆาเอ็ล เอ็นเด้ กับจินตนาการไม่รู้จบ : ภาพสะท้อนระหว่างโลกสองใบ” ใน สารคดี. ปีที่ 21 ฉบับที่ 245 กรกฏาคม 2548
ปรีดา อัครจันทโชติ (2548). “Einstein’s Dreams : โลกหลายเวลาของไอน์สไตน์” ใน สารคดี. ปีที่ 21 ฉบับที่ 243 พฤษภาคม 2548
ปรีดา อัครจันทโชติ (2548). “ซี.เอส. ลูอิส กับเมืองนาร์เนีย : เมื่อไบเบิลผสานเป็นหนึ่งเดียวกับแฟนตาซี” ใน สารคดี. ปีที่ 21 ฉบับที่ 242 เมษายน 2548
ปรีดา อัครจันทโชติ (2548). “Nuan : ฝันสลายแต่ชีวิตยังคงดำเนินต่อไป” ใน สารคดี. ปีที่ 21 ฉบับที่ 248 ตุลาคม 2548
ปรีดา อัครจันทโชติ (2548). “Electric Shadow : การเฉลิมฉลองหนึ่งศตวรรษภาพยนตร์จีน” ใน สารคดี. ปีที่ 21 ฉบับที่ 246 สิงหาคม 2548
ปรีดา อัครจันทโชติ (2548). “Beijing Film Academy : เบื้องหลังอหังการแห่งวงการภาพยนตร์จีน” ใน สารคดี. ปีที่ 20 ฉบับที่ 240 กุมภาพันธ์ 2548
ปรีดา อัครจันทโขติ (2547). “2046 : เวลา ความทรงจำ และนิยายของคนข้างห้อง” ใน สารคดี. ปีที่ 20 ฉบับที่ 238 ธันวาคม 2547
ปรีดา อัครจันทโขติ (2547). “Cell Phone : ที่แท้แล้วคือโทรศัพท์หรือระเบิดมือ?” ใน สารคดี. ปีที่ 20 ฉบับที่ 233 กรกฎาคม 2547
ปรีดา อัครจันทโชติ (2547). “ผู้หญิงเลี้ยวซ้าย ผู้ชายเลี้ยวขวา” ใน สารคดี. ปีที่ 20 ฉบับที่ 228 กุมภาพันธ์ 2547
รางวัล
Honour List ประจำปี 2010-2011 โดย International Board on Books for Young People (IBBY) (เมืองคนเด็ก)
รางวัลชมเชย รักลูกอวอร์ด ครั้งที่ 5 ประจำปี 2550 ประเภทหนังสือบันเทิงคดีสำหรับเด็กอายุ 13 ปีขึ้นไป (เมืองคนเด็ก)
รางวัลชมเชย รักลูกอวอร์ด ครั้งที่ 3 ประจำปี 2548 ประเภทหนังสือสำหรับเด็กอายุ 10-12 ปี (เจ้าชายไม่พูด)
รางวัลยอดเยี่ยม นายอินทร์อะวอร์ด ครั้งที่ 4 ประจำปี 2545 ประเภทวรรณกรรมเยาวชน (เจ้าชายไม่วิเศษ)